ข้ามไปเนื้อหา

ฮาราเร

พิกัด: 17°51′50″S 31°1′47″E / 17.86389°S 31.02972°E / -17.86389; 31.02972
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฮาราเร

(ซอลส์บรี)
เมืองหลวง
ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน: เส้นขอบฟ้า, Jacaranda ที่เรียงรายตามถนน Josiah Chinamano, รัฐสภาซิมบับเว (ด้านหน้า) and the และ อาสนวิหารแองกลิคัน (ด้านหลัง), ตัวเมืองฮาราเร, อาคารธนาคารสำรองใหม่, อนุสาวรีย์วีรบุรุษเอเคอร์
ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน: เส้นขอบฟ้า, Jacaranda ที่เรียงรายตามถนน Josiah Chinamano, รัฐสภาซิมบับเว (ด้านหน้า) and the และ อาสนวิหารแองกลิคัน (ด้านหลัง), ตัวเมืองฮาราเร, อาคารธนาคารสำรองใหม่, อนุสาวรีย์วีรบุรุษเอเคอร์
ธงของฮาราเร
ธง
ตราราชการของฮาราเร
ตราอาร์ม
สมญา: 

Sunshine City, H Town
คำขวัญ: 
Pamberi Nekushandira Vanhu (Forward with Service to the People)
ฮาราเรตั้งอยู่ในประเทศซิมบับเว
ฮาราเร
สถานที่ตั้งในประเทศซิมบับเว
พิกัด: 17°51′50″S 31°1′47″E / 17.86389°S 31.02972°E / -17.86389; 31.02972
ประเทศประเทศซิมบับเว
จังหวัดฮาราเร
Founded as Fort Salisbury1890
Incorporated (city)1935
Renamed to Harare1982
การปกครอง
 • MayorMuchadeyi Masunda
พื้นที่
 • เมืองหลวง960.6 ตร.กม. (370.9 ตร.ไมล์)
ความสูง1,490 เมตร (4,890 ฟุต)
ประชากร
 (2009)
 • เมืองหลวง1,606,000 คน
 • ความหนาแน่น2,540 คน/ตร.กม. (4,330 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง2,800,111 คน
 estimated
เขตเวลาUTC+2 (CAT)
รหัสพื้นที่4
เว็บไซต์http://www.hararecity.co.zw
Dialling code 4 (or 04 from within Zimbabwe)

ฮาราเร[a] (ก่อน พ.ศ. 2525 ชื่อ ซอลส์บรี[b]) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศซิมบับเว ใน พ.ศ. 2552 มีการประเมินประชากรไว้ที่ 1,606,000 คน[1] โดยมี 2,800,000 คนในเขตปริมณฑล (พ.ศ. 2549) ในทางการปกครอง ฮาราเรเป็นนครอิสระมีฐานะเทียบเท่าจังหวัด เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและศูนย์กลางการปกครอง พาณิชย์และการสื่อสารของประเทศซิมบับเว นครนี้เป็นศูนย์กลางการค้ายาสูบ ข้าวโพด ฝ้ายและผลไม้สกุลส้ม การผลิตมีทั้งสิ่งท่อ เหล็กกล้าและเคมีภัณฑ์ ตลอดจนมีการขุดทองในพื้นที่ ฮาราเรตั้งอยู่ที่ความสูง 1,483 เมตรจกระดับน้ำทะเล และภูมิอากาศจัดอยู่ในประเภทอุณหภูมิอบอุ่น

ฮาราเรเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยซิมบับเว สถาบันอุดมศึกษาใหญ่ที่สุดในซิมบับเว ซึ่งตั้งอยู่ที่ตีนเขาพลีเซนต์ ห่างจากใจกลางนครไปทางเหนือราว 6 กิโลเมตร[2]

หมายเหตุ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "'CIA - The World Factbook". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-16. สืบค้นเมื่อ 2012-02-27.
  2. "University of Zimbabwe Website". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-11-22. สืบค้นเมื่อ 2012-02-27.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]