หัว
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) หวว
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หัว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǔua |
ราชบัณฑิตยสภา | hua | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /hua̯˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *truəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩫ (หว็), ภาษาลาว ຫົວ (ห็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦠ (โห), ภาษาไทดำ ꪬꪺ (หัว), ภาษาไทใหญ่ ႁူဝ် (หูว), ภาษาอาหม 𑜑𑜥 (หู), 𑜍𑜥 (รู) หรือ 𑜍𑜤𑜈𑜫 (รุว์) , ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hue , vue (หัว,หวัว)
คำนาม
[แก้ไข]หัว
- ส่วนบนสุดของร่างกายของคนหรือสัตว์
- ผม (ในบางบริบท)
- ส่วนของพืชพันธุ์บางอย่างตอนที่อยู่ใต้ดิน
- หัวหอม
- หัวผักกาด
- ส่วนที่อยู่ใต้ดินของพืชบางชนิด เป็นที่เกิดต้นอ่อน
- ส่วนเริ่มต้นที่เป็นวงของตัวหนังสือ
- ส่วนแห่งสิ่งของบางอย่างที่อยู่ข้างหน้า หรือข้างต้น หรือแรกเริ่ม เรียกว่า หัวของสิ่งนั้น ๆ
- หัวเรือ
- หัวถนน
- หัวที
- ช่วงแรกเริ่มของเวลา
- หัวปี
- หัววัน
- หัวค่ำ
- หัวดึก
- ส่วนแห่งสิ่งของที่เป็นยอด
- หัวฝี
- ส่วนแห่งสิ่งของที่ยื่นเด่นออกไป
- หัวแหลม
- หัวสะพาน
- ในการเล่นปั่นแปะหรือโยนหัวโยนก้อย เรียกสมมุติด้านหนึ่งของเงินปลีกว่า ด้านหัว คู่กับ ด้านก้อย
- ส่วนที่ตรงข้ามกับหางหรือท้าย
- หัวแถวหางแถว
- หัวเรือ
- ส่วนที่ตรงข้ามกับ ก้น ในความว่า หัวหวานก้นเปรี้ยว
- ส่วนที่เป็นแก่นสาร
- หัวยา
- หัวเหล้า
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:หัว
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]- หัวกระเด็น
- หัวกระไดไม่แห้ง
- หัวกระสุน
- หัวก๊อก
- หัวกะทิ
- หัวก่ายท้ายเกย
- หัวกุญแจ
- หัวเก่า
- หัวแก้วหัวแหวน
- หัวขโมย
- หัวข้อ
- หัวขั้ว
- หัวขาด
- หัวขี้แต้
- หัวขี้เลื่อย
- หัวขี้หมา
- หัวเข่า
- หัวแข็ง
- หัวโขน
- หัวคลองท้ายคลอง
- หัวคว่ำ
- หัวคะแนน
- หัวคันนา
- หัวค่ำ
- หัวคิด
- หัวคุ้ง
- หัวใคร่
- หัวงาน
- หัวเงื่อน
- หัวแง่
- หัวจิตหัวใจ
- หัวจุก
- หัวแจว
- หัวโจก
- หัวใจ
- หัวชนกำแพง
- หัวชนฝา
- หัวซุกหัวซุน
- หัวซุน
- หัวด้วน
- หัวดาวหัวเดือน
- หัวดี
- หัวดื้อ
- หัวเด็ดตีนขาด
- หัวเดียวกระเทียมลีบ
- หัวต่อ
- หัวตะคาก
- หัวตะโหงก
- หัวเต่า
- หัวเตาไฟ
- หัวถอก
- หัวเถิก
- หัวแถว
- หัวที
- หัวทึบ
- หัวเท่ากำปั้น
- หัวเทียน
- หัวเทียม
- หัวนกกระจอก
- หัวนม
- หัวนอก
- หัวนอน
- หัวนอนปลายตีน
- หัวน้ำ
- หัวน้ำขึ้น
- หัวน้ำลง
- หัวเนื้อ
- หัวเนื้อทราย
- หัวใน
- หัวบัว
- หัวบ้านท้ายบ้าน
- หัวเบี้ย
- หัวโบราณ
- หัวปลวก
- หัวปลี
- หัวปักหัวปำ
- หัวปั่น
- หัวป่า
- หัวปาก
- หัวปี
- หัวปีท้ายปี
- หัวพัน
- หัวพุงหัวมัน
- หัวฟัดหัวเหวี่ยง
- หัวฟืนหัวไฟ
- หัวมังกุท้ายมังกร
- หัวมุม
- หัวเม็ด
- หัวเมือง
- หัวแม่ตีน
- หัวแม่เท้า
- หัวแม่มือ
- หัวแมลงวัน
- หัวไม้
- หัวไม่วางหางไม่เว้น
- หัวรถจักร
- หัวรอ
- หัวระแหง
- หัวรักหัวใคร่
- หัวรั้น
- หัวราน้ำ
- หัวรุนแรง
- หัวเราะหัวไห้
- หัวเรี่ยวหัวแรง
- หัวเรื่อง
- หัวเรือใหญ่
- หัวแรง
- หัวลม
- หัวล้าน
- หัวล้านได้หวี
- หัวล้านนอกครู
- หัวเลี้ยว
- หัวเลี้ยวหัวต่อ
- หัวแล่น
- หัวโล้น
- หัวไว
- หัวสมอง
- หัวสมัยใหม่
- หัวสำเภา
- หัวสูง
- หัวเสีย
- หัวใส
- หัวไส้
- หัวหกก้นขวิด
- หัวหงอก
- หัวหด
- หัวหน้า
- หัวหน่าว
- หัวหมอ
- หัวหมื่น
- หัวหมุน
- หัวหมู
- หัวหลักหัวตอ
- หัวหอก
- หัวหาด
- หัวหายตะพายขาด
- หัวเห็ด
- หัวเหม่
- หัวเหม่ง
- หัวแหลม
- หัวแหวน
- หัวใหม่
- หัวไหล่
- หัวอก
- หัวอกหัวใจ
- หัวออก
- หัวอ่อน
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หัว
- สติปัญญา, ความสามารถพิเศษ, ความคิดริเริ่ม
- เด็กคนนี้มีหัวทางดนตรี
- ผู้ที่มีความคิดหนักไปทางใดทางหนึ่ง
- หัวกฎหมาย
- ปัญญา, ความคิด
- หัวดี
- หัวไว
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *krɯəwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน หัว, ภาษาลาว ຫົວ (ห็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦃ (โฃ), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง vue,hue (หัว,หวัว)
คำกริยา
[แก้ไข]หัว (คำอาการนาม การหัว)
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:หัวเราะ
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hua˨˦/
คำนาม
[แก้ไข]หัว
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᩅᩫ (หว็)
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]หัว (คำอาการนาม การหัว)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ua̯
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาโรฮีนจา
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาภาษาอีสาน