อ่อน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʔɔːnᴮ¹, จากไทดั้งเดิม *ʔwuːnᴮ; ร่วมเชื้อสายกับลาว ອ່ອນ (อ่อน), ไทลื้อ ᦀᦸᧃᧈ (อ่อ̂น), ไทดำ ꪮ꪿ꪮꪙ (อ่อน), ไทขาว ꪮꪮꪙꫀ, ไทใหญ่ ဢွၼ်ႇ (อ่อ̂น) หรือ ဢူၼ်ႈ (อู้น), อาหม 𑜒𑜨𑜃𑜫 (ออ̂น์) หรือ 𑜒𑜤𑜃𑜫 (อุน์), จ้วง unq หรือ onq, จ้วงแบบหนง oanq, แสก อูน
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | อ่อน | อ็่อน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ɔ̀ɔn | ɔ̀n |
ราชบัณฑิตยสภา | on | on | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔɔːn˨˩/(สัมผัส) | /ʔɔn˨˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]อ่อน (คำอาการนาม ความอ่อน)
- ไม่กระด้าง
- ลิ้นอ่อน
- นิ่ม
- เนื้ออ่อน
- ไม่จัด
- แดดอ่อน
- ไม่แข็ง, ยอมง่าย ๆ, รู้สึกสงสาร
- ใจอ่อน
- ไม่แก่
- มะพร้าวอ่อน
- หย่อน
- อ่อนเค็ม
- น้อย
- เหลืองอ่อน
- ไม่แรง
- ไฟอ่อน
- อายุยังน้อย
- ไก่อ่อน
- ยังเล็กอยู่
- เด็กอ่อน
- ละมุนละม่อม
- ดัดง่าย, เปลี่ยนแปลงง่าย
คำกริยา
[แก้ไข]อ่อน (คำอาการนาม การอ่อน)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːn
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย