อุษมาน
อุษมาน อิบน์ อัฟฟาน | |||||
---|---|---|---|---|---|
เคาะลีฟะฮ์แห่งรอชิดีน | |||||
ครองราชย์ | 6 พฤศจิกายน ค.ศ.644 – 17 มิถุนายน ค.ศ.656 | ||||
ก่อนหน้า | อุมัร | ||||
ถัดไป | อะลี | ||||
ประสูติ | ค.ศ.579 (42 ก่อนฮิจเราะฮ์ศักราช) อัฏฏออิฟ, อาระเบีย | ||||
สวรรคต | 20 พฤษภาคม ค.ศ.656 (77 ปี) (17 ซุลกิอฺดะฮฺ ฮ.ศ.35) มะดีนะฮ์, อาระเบีย, รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน | ||||
ฝังพระศพ | สุสานอัลบากีอฺ, มะดีนะฮ์ | ||||
คู่อภิเษก |
| ||||
พระราชบุตร (among others) | Aban | ||||
| |||||
ราชวงศ์ | กุเรช (บนูอุมัยยะฮ์) | ||||
ราชวงศ์ | Rashidun | ||||
พระราชบิดา | อัฟฟาน อิบน์ อบี อัล-อาส | ||||
พระราชมารดา | อัรวา บินต์ กูรอยซ์ | ||||
ศาสนา | อิสลาม พหุเทวนิยมอาหรับ (จนถึงค.ศ.620) |
อุษมาน อิบน์ อัฟฟาน (อาหรับ: عثمان بن عفان) รู้จักกันในภาษาอังกฤษแบบตุรกีและเปอร์เซียว่า โอสมาน (579 – 17 มิถุนายน 656) เป็นสาวกของศาสดามุฮัมหมัดและเป็นเคาะลีฟะฮ์คนที่ 3 ของรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน อุษมานเกิดในเผ่าบนูอุมัยยะฮ์ในมักกะฮ์ เมื่อเคาะลีฟะฮ์อุมัรเสียชีวิตตอนอายุ 59/60 ปี ส่วนอุษมานเสียชีวิตตอนอายุ 64/65 ปี ทำให้เป็นผู้นำที่ปกครองยาวนานที่สุดเป็นอันดับสองรองจากอุมัร
จากรายงานของซุนนี อุษมานแต่งงานกับรุก็อยยะฮ์ หลังจากเธอเสียชีวิต เขาได้แต่งงานกับอุมมุกัลซุม เนื่องจากทั้งสองเป็นลูกสาวของมุฮัมหมัด เขาจึงไดสมยานามว่า ซุลนุร็อยน์ ("เจ้าแห่งสองรัศมี")[1]
ภายใต้การปกครองของอุสมาน อาณาจักรอิสลามได้ขยายไปถึงจังหวัดฟอร์ส (ปัจจุบันคืออิหร่าน) ในปีค.ศ.650 และบางส่วนของคุรอซาน (ปัจจุบันคืออัฟกานิสถาน) ในปีค.ศ.651 สงครามในอาร์มีเนียเริ่มขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 640[2] การยึดครองของเขาจึงนำไปสู่การประท้วงจนกระทั่งเขาถูกสังหาร
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ John L. Esposito, บ.ก. (2009). "ʿUthmān ibn ʿAffān". The Oxford Encyclopedia of the Islamic World. Oxford: Oxford University Press.
{{cite encyclopedia}}
:|first=
ไม่มี|last=
(help) - ↑ Ochsenweld, William; Fisher, Sydney Nettleton (2004). The Middle East: A History (6th ed.). New York: McGraw Hill. ISBN 0-07-244233-6.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Uthman มุมมองเกี่ยวกับอุสมาน:
- Uthman in History
- Quilliam Press: Uthman ibn Affan เก็บถาวร 2012-10-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
มุมมองในสื่ออาหรับ:
มุมมองของชีอะฮ์: