ข้ามไปเนื้อหา

ไท่หยวน

พิกัด: 37°52′13″N 112°32′59″E / 37.8704°N 112.5497°E / 37.8704; 112.5497
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไท่หยวน

太原市

ไท่ยฺเหวียน
สถานที่ต่าง ๆ ในนครไท่หยวน
สถานที่ต่าง ๆ ในนครไท่หยวน
สมญา: 
ปิงโจว (并州); จิ้นหยาง (晋阳); นครมังกร (龙城)
แผนที่
ที่ตั้งของนครไท่หยวนในมณฑลชานซี
ที่ตั้งของนครไท่หยวนในมณฑลชานซี
ไท่หยวนตั้งอยู่ในมณฑลชานซี
ไท่หยวน
ไท่หยวน
ที่ตั้งของใจกลางเมืองในมณฑลชานซี
พิกัด (หน่วยงานบริหารนครไท่หยวน): 37°52′13″N 112°32′59″E / 37.8704°N 112.5497°E / 37.8704; 112.5497
ประเทศสาธารณรัฐประชานจีน
มณฑลชานซี
ศูนย์กลางการปกครองเขตซิ่งฮวาหลิ่ง (杏花岭区)
จำนวนเขตการปกครองระดับเทศมณฑล: 10, ระดับตำบล: 83
การปกครอง
 • เลขาธิการพรรคหลัว ชิงยฺหวี่ (罗清宇)
 • นายกเทศมนตรีหลี่ เสี่ยวปัว (李晓波)
พื้นที่
 • นครระดับจังหวัด6,959 ตร.กม. (2,687 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง1,460 ตร.กม. (560 ตร.ไมล์)
ความสูง800 เมตร (2,600 ฟุต)
ความสูงจุดสูงสุด2,670 เมตร (8,760 ฟุต)
ความสูงจุดต่ำสุด760 เมตร (2,490 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโนปี 2010)[1]
 • นครระดับจังหวัด4,201,591 คน
 • ความหนาแน่น600 คน/ตร.กม. (1,600 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง (2017)[2]3,709,700 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง2,500 คน/ตร.กม. (6,600 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตทั้งห้า[2]4,372,000
เขตเวลาUTC+08:00 (เวลามาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์030000
รหัสพื้นที่351
รหัส ISO 3166CN-SX-01
ทะเบียนพาหนะ晋A
GDP¥ 3382.18 พันล้าน (2017)
GDP ต่อหัว¥ 78,472 (2017)
การจำแนกระดับของ GaWCแกมมาลบ (Gamma -) [3]
ชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ชาวฮั่น
รหัสเขตการปกครอง140100
เว็บไซต์taiyuan.gov.cn
ไท่หยวน
"ไท่หยวน" เขียนด้วยตัวอักษรจีน
ภาษาจีน太原
ความหมายตามตัวอักษร"ที่ราบอันยิ่งใหญ่"

ไท่หยวน[4] (จีน: 太原; พินอิน: Tàiyuán; เวด-ไจลส์: T'ai-yüan) เป็นเมืองในประเทศจีน เมืองหลวงของมณฑลซานซี เป็นเมืองอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศจีน และเป็นแหล่งผลิตถ่านหินที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศจีน

ภูมิประเทศ

[แก้]

เมืองหลวงของมณฑลซานซี ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของแม่น้ำเหลืองทางตอนเหนือของประเทศจีน และแม่น้ำเฝินเหอซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาของแม่น้ำเหลืองไหลผ่านความยาว 100 กิโลเมตร ทิศตะวันตก ตะวันออกและทิศเหนือรายล้อมด้วยภูเขา สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 800 เมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 6,998 ตร.กม. มีอุณหภูมิเฉลี่ย 9.5 องศาเซลเซียส

ประชากร

[แก้]

ปี 2005 เมืองไท่หยวนมีจำนวนประชากรทั้งหมด 3,420,000 คน โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองจำนวน 2,823,400 คน คิดเป็น 82.41 % ของจำนวนประชากรทั้งหมด และประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตชนบท 602,600 คน คิดเป็น 17.59 % ของจำนวนประชากรทั้งหมด

เศรษฐกิจ

[แก้]

เมืองไท่หยวน ประกอบด้วยอุตสาหกรรมหลัก 4 ประเภท ได้แก่ อุตสาหกรรมพลังงาน อุตสาหกรรมเทคนิคการทำโลหะผสม อุตสาหกรรมเครื่องจักรเครื่องกล และอุตสาหกรรมเคมี นอกจากนั้นยังมีอุตสาหกรรมอื่นๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมหนัก อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเลคโทนิค อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง และอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมพลาสติก เคมี ซีเมนต์ ปุ๋ย

นอกจากนี้ เมืองไท่หยวนยังเป็นแหล่งผลิตถ่านหินที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศจีน อย่างไรก็ตามเมืองไท่หยวนก็ยังต้องการการลงงทุนและเทคโนโลยีการขุดเจาะถ่านหิน นอกจากนี้การขาดเงินทุนในการสำรวจทำให้มีผลต่อการผลิตและผลกำไร

อ้างอิง

[แก้]
  1. 山西省2010年第六次全国人口普查主要数据公报 (ภาษาจีน). National Bureau of Statistics of China. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 April 2013. สืบค้นเมื่อ 2 June 2015.
  2. 2.0 2.1 Ministry of Housing and Urban-Rural Development, บ.ก. (2019). China Urban Construction Statistical Yearbook 2017. Beijing: China Statistics Press. p. 48. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-18. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
  3. "The World According to GaWC 2020". GaWC - Research Network. Globalization and World Cities. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-06. สืบค้นเมื่อ 31 August 2020.
  4. ราชบัณฑิตยสภา. ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2564

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]