ข้ามไปเนื้อหา

อะซูลีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อะซูลีน
ชื่อ
IUPAC name
bicyclo[5.3.0]decapentaene
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.005.449 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • InChI=1/C10H8/c1-2-5-9-7-4-8-10(9)6-3-1/h1-8H
    Key: CUFNKYGDVFVPHO-UHFFFAOYAT
  • c1cccc2cccc2c1
คุณสมบัติ
C10H8
มวลโมเลกุล 128.174 g·mol−1
จุดหลอมเหลว 99–100 °C
จุดเดือด 242 °C
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

อะซูลีน (อังกฤษ: Azulene) เป็นสารอินทรีย์ที่เป็นไอโซเมอร์ของแนฟทาลีน ต่างจากแนฟทาลีนที่มีสีน้ำเงินเข้มในขณะที่แนฟทาลีนไม่มีสี ชื่อของสารนี้มาจากภาษาสเปน azul หมายถึงสีน้ำเงิน เทอร์พีนอยด์ 2 ชนิดคือ vetivazulene (4,8-dimethyl-2-isopropylazulene) และ guaiazulene (1,4-dimethyl-7-isopropylazulene)ซึ่งมีอะซูลีนเป็นโครงสร้างในส่วนแกนของโมเลกุลพบตามธรรมชาติในสีของเห็ดและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล

อะซูลีนมีความเป็นมาที่ยาวนาน พบตั้งแต่ คริสศตวรรษที่ 15 เป็นสีฟ้าใสที่ได้จากการกลั่นด้วยไอน้ำของดอกคาโมไมล์และยังพบในต้น yarrow และwormwood ตั้งชื่อในปี พ.ศ. 2406 โดย Septimus Piesse มีการรายงานโครงสร้างครั้งแรกโดย Lavoslav Ružička ตามด้วยการสังเคราะห์นี้ได้ใน พ.ศ. 2480 โดย Placidus Plattner

สีน้ำเงินของเห็ดLactarius indigo เกิดจากอนุพันธ์ของอะซูลี (7-isopropenyl-4-methylazulen-1-yl)methyl stearate.[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Harmon AD, Weisgraber KH, Weiss U. (1979). "Preformed azulene pigments of Lactarius indigo (Schw.) Fries (Russulaceae, Basidiomycetes)". Cellular and Molecular Life Sciences. 36 (1): 54–56. doi:10.1007/BF02003967. ISSN 1420-682X.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)