บันดาอาเจะฮ์
บันดาอาเจะฮ์ | |
---|---|
นครบันดาอาเจะฮ์ Kota Banda Aceh | |
การถอดเสียงอักษรอื่น | |
• จาวอเวอ | كوتا بند اچيه |
สมญา: Kota Serambi Mekkah (ระเบียงมักกะฮ์) | |
คำขวัญ: Saboeh Pakat Tabangun Banda | |
ที่ตั้งในจังหวัดอาเจะฮ์ | |
ที่ตั้งในเกาะสุมาตราและประเทศอินโดนีเซีย | |
พิกัด: 5°33′0″N 95°19′3″E / 5.55000°N 95.31750°E | |
ประเทศ | อินโดนีเซีย |
ภูมิภาค | สุมาตรา |
จังหวัด | จังหวัดอาเจะฮ์ |
สถาปนา | 22 เมษายน 1205 |
การปกครอง | |
• นายกเทศมนตรี | อามีนุลละฮ์ อุซมัน |
• รองนายกเทศมนตรี | ไซนัล อารีฟีน |
พื้นที่ | |
• นคร | 61.36 ตร.กม. (23.69 ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 2,935.36 ตร.กม. (1,133.35 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 0–10 เมตร (0–32.9 ฟุต) |
ประชากร (ประมาณกลาง ค.ศ. 2022)[1] | |
• นคร | 257,635 คน |
• ความหนาแน่น | 4,200 คน/ตร.กม. (11,000 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 513,698 คน |
• ความหนาแน่นรวมปริมณฑล | 180 คน/ตร.กม. (450 คน/ตร.ไมล์) |
ประชากร | |
• กลุ่มชาติพันธุ์ | อาเจะฮ์ |
• ศาสนา | อิสลาม 97.09% พุทธ 1.13% คริสต์ 0.70% คาทอลิก 0.19% ฮินดู 0.02% อื่น ๆ 0.85% [2] |
• ภาษา | อินโดนีเซีย (ทางการ) อาเจะฮ์ (ภูมิภาค) |
เขตเวลา | UTC+7 (เวลาอินโดนีเซียตะวันตก) |
รหัสไปรษณีย์ | 23000 |
รหัสพื้นที่ | (+62) 651 |
ป้ายทะเบียนยานพาหนะ | BL XXX AX BL XXX JX |
เอชดีไอ (2022) | 0.863 (สูงมาก) |
เว็บไซต์ | bandaacehkota.go.id |
บันดาอาเจะฮ์ (อินโดนีเซีย: Banda Aceh; อาเจะฮ์: Banda Acèh / بند اچيه) เป็นเมืองหลักและเมืองใหญ่สุดของจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางปลายทิศตะวันตกเฉียงเหนือบนเกาะสุมาตรา บริเวณปากแม่น้ำอาเจะฮ์ มีขนาดพื้นที่ 61.36 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 223,446 คนจากสำมะโน ค.ศ. 2010[3] จากนั้นจึงเพิ่มขึ้นเป็น 252,899 คนในสำมะโน ค.ศ. 2020[4] จำนวนประมาณการอย่างเป็นทางการในช่วงกลาง ค.ศ. 2022 อยู่ที่ 257,635 คน[1]
ในอดีตมีชื่อว่าเมือง กูตาราจา ซึ่งมีความหมายว่า "เมืองพระราชา" ต่อมาเมื่อมีการสถาปนารัฐสุลต่านอาเจะฮ์โดยชาวจามปา จึงเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น บันดาอาเจะฮ์ดารุซซาลัม หรือเรียกโดยย่อว่า บันดาอาเจะฮ์ และต่อมาจึงเป็นเมืองหลักของจังหวัดอาเจะฮ์ในปี ค.ศ. 1956[5]
บันดาอาเจะฮ์เป็นที่รู้จักไปทั่วโลกจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิใน ค.ศ. 2004 บันดาร์อาเจะฮ์เป็นเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวที่อยู่ห่างจากชายฝั่ง 249 กิโลเมตร (155 ไมล์) มากที่สุด[6] ตัวเมืองประสบกับแผ่นดินไหวที่สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงและสึนามิที่ซัดขึ้นมาหลังจากนั้นไม่นานสร้างความเสียหายมากขึ้นอีก ทำให้มีผู้เสียชีวิตในเมืองประมาณ 60,000 คนและบาดเจ็บจำนวนมาก[7][8]
ผลที่ตามมาหลังจากสึนามิทำให้ความขัดแย้งส่วนใหญ่ในเมืองและจังหวัดยุติลง และความช่วยเหลือทั้งภายในและระหว่างประเทศส่งผลให้มีการปรับปรุงและบูรณะเมืองครั้งใหญ่ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา[9]
ภูมิศาสตร์
[แก้]ภูมิอากาศ
[แก้]ข้อมูลภูมิอากาศของบันดาอาเจะฮ์ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 34.6 (94.3) |
37.0 (98.6) |
35.8 (96.4) |
36.0 (96.8) |
36.6 (97.9) |
37.0 (98.6) |
39.8 (103.6) |
39.0 (102.2) |
38.0 (100.4) |
36.0 (96.8) |
35.4 (95.7) |
36.1 (97) |
39.8 (103.6) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 27.8 (82) |
28.8 (83.8) |
31.0 (87.8) |
32.0 (89.6) |
30.0 (86) |
30.3 (86.5) |
30.1 (86.2) |
30.9 (87.6) |
30.1 (86.2) |
30.5 (86.9) |
28.9 (84) |
27.9 (82.2) |
29.86 (85.75) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 25.9 (78.6) |
26.5 (79.7) |
27.3 (81.1) |
28.3 (82.9) |
27.6 (81.7) |
27.9 (82.2) |
27.5 (81.5) |
28.2 (82.8) |
27.4 (81.3) |
28.0 (82.4) |
26.8 (80.2) |
26.2 (79.2) |
27.3 (81.14) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 24.1 (75.4) |
24.2 (75.6) |
23.7 (74.7) |
24.6 (76.3) |
25.2 (77.4) |
25.6 (78.1) |
24.9 (76.8) |
25.6 (78.1) |
24.7 (76.5) |
25.5 (77.9) |
24.7 (76.5) |
24.5 (76.1) |
24.78 (76.6) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 18.0 (64.4) |
15.0 (59) |
15.6 (60.1) |
15.5 (59.9) |
13.0 (55.4) |
8.0 (46.4) |
16.5 (61.7) |
11.6 (52.9) |
17.8 (64) |
14.0 (57.2) |
11.4 (52.5) |
15.6 (60.1) |
8.0 (46.4) |
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) | 155 (6.1) |
103 (4.06) |
109 (4.29) |
121 (4.76) |
152 (5.98) |
90 (3.54) |
97 (3.82) |
107 (4.21) |
161 (6.34) |
194 (7.64) |
209 (8.23) |
236 (9.29) |
1,734 (68.27) |
แหล่งที่มา: [10][11] |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Badan Pusat Statistik, Jakarta, 2023.
- ↑ Data Sensus Penduduk 2010 – Badan Pusat Statistik Republik Indonesia <http://sp2010.bps.go.id/index.php/site/tabel?tid=321&wid=8100000000>
- ↑ Biro Pusat Statistik, Jakarta, 2011.
- ↑ Badan Pusat Statistik, Jakarta, 2021.
- ↑ รัฐบาลอินโดนีเซีย (25 ตุลาคม 1956). "UU 24/1956, Establishment of Regional Autonomy in the Province of Aceh and Replacement of Regulation about the Establishment of the Province of North Sumatra". Indonesia Ministry of Justice and Law. UU 24/1956. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-30. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2007
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help)CS1 maint: postscript (ลิงก์) - ↑ John Pike, 'Banda Aceh', accessed 23 January 2011.
- ↑ Jayasuriya, Sisira and Peter McCawley in collaboration with Bhanupong Nidhiprabha, Budy P. Resosudarmo and Dushni Weerakoon, The Asian Tsunami: Aid and Reconstruction After a Disaster เก็บถาวร 2012-03-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Cheltenham UK and Northampton MA USA: Edward Elgar and Asian Development Bank Institute, 2010.
- ↑ Jayasuriya and McCawley, ibid.
- ↑ Lamb, Katie (27 January 2014). "Banda Aceh: where community spirit has gone but peace has lasted". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 6 February 2015.
- ↑ Climate Banda Aceh Average high, Daily mean, Average low, Average precipitation
- ↑ Weather and climate in Banda Aceh Record low, Record high (1980–2018)
บรรณานุกรม
[แก้]- Dallal, Tamalyn. 40 Days & 1001 Nights: One Woman's Dance Through Life in the Islamic World..., 2007. ISBN 0-9795155-0-5 (book). The first part of the journey through the Islamic world goes through Banda Aceh and describes the everyday life of the people in this part of Indonesia.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คู่มือการท่องเที่ยว Banda Aceh จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)
- เว็บไซต์ทางการ
- การท่องเที่ยวบันดาร์อาเจะฮ์
- Aceh.net Visit Aceh: Eco and Islamic Tourism, Cultural Information, Investment and highlights of directory
- Video: Banda Aceh