คุ
ฮิรางานะ |
คาตากานะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การถอดอักษร | ku | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ดากูเต็ง | gu | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ฮันดากูเต็ง | (ngu) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของฮิรางานะ |
久 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของคาตากานะ |
久 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสเรียกขาน | クラブのク (คุระบุ โนะ คุ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสมอร์ส | ・・・- | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรเบรลล์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ยูนิโคด | U+304F, U+30AF | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
คุ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า く มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 久 และคะตะกะนะเขียนว่า ク มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 久 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง [ŋu] กับ [ɣu] ในพยางค์อื่น ชาวญี่ปุ่นอาจออกเสียงคุที่อยู่ท้ายคำหรือท้ายประโยคเป็น [k̚] โดยละเสียงสระเพื่อความสะดวกในการสนทนา
く เป็นอักษรลำดับที่ 8 อยู่ระหว่าง き (คิ) กับ け (เคะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ く เป็นอักษรลำดับที่ 28 อยู่ระหว่าง お (โอะ) กับ や (ยะ)
รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ธรรมดา | ku | く | ク | คุ-กุ | ธรรมดา +ดะกุเต็ง |
gu | ぐ | グ | กุ-งุ | ธรรมดา +ฮันดะกุเต็ง |
(ngu) | く゚ | ク゚ | งุ |
kū | くう, くぅ くー, く~ |
クウ, クゥ クー, ク~ |
คู-กู | gū | ぐう, ぐぅ ぐー, ぐ~ |
グウ, グゥ グー, グ~ |
กู-งู | (ngū) | く゚う, く゚ぅ く゚ー, く゚~ |
ク゚ウ, ク゚ゥ ク゚ー, ク゚~ |
งู | |||
ทวิอักษร | kwa | くぁ, くゎ | クァ, クヮ | คฺวะ-กฺวะ | ทวิอักษร +ดะกุเต็ง |
gwa | ぐぁ, ぐゎ | グァ, グヮ | กฺวะ-งฺวะ | ทวิอักษร +ฮันดะกุเต็ง |
(ngwa) | く゚ぁ, く゚ゎ | ク゚ァ, ク゚ヮ | งฺวะ |
kwi | くぃ | クィ | คฺวิ-กฺวิ | gwi | ぐぃ | グィ | กฺวิ-งฺวิ | (ngwi) | く゚ぃ | ク゚ィ | งฺวิ | |||
kwe | くぇ | クェ | คฺเวะ-กฺเวะ | gwe | ぐぇ | グェ | กฺเวะ-งฺเวะ | (ngwe) | く゚ぇ | ク゚ェ | งฺเวะ | |||
kwo | くぉ | クォ | คฺโวะ-กฺโวะ | gwo | ぐぉ | グォ | กฺโวะ-งฺโวะ | (ngwo) | く゚ぉ | ク゚ォ | งฺโวะ |
อักษรแบบอื่น
[แก้]ภาษาไอนุใช้คะตะกะนะขนาดเล็ก ㇰ เป็นพยัญชนะสะกด [k̚] เหมือนการสะกดด้วย -ก
ข้อความภาษาญี่ปุ่นทั่วไปไม่เติมฮันดะกุเต็งบนคุ แต่อาจนักภาษาศาสตร์อาจเติมฮันดะกุเต็งบนคุ く゚, ク゚ เพื่อแสดงเสียง [ŋu]
อักขระ | ยูนิโคด | จิส เอกซ์ 0213[1] | ความหมาย |
---|---|---|---|
く | U+304F | 1-4-15 | ฮิระงะนะ คุ |
ぐ | U+3050 | 1-4-16 | ฮิระงะนะ กุ |
く゚ | U+304F U+309A | 1-4-89 | ฮิระงะนะ งุ |
ク | U+30AF | 1-5-15 | คะตะกะนะ คุ |
グ | U+30B0 | 1-5-16 | คะตะกะนะ กุ |
ク゚ | U+30AF U+309A | 1-5-89 | คะตะกะนะ งุ |
ㇰ | U+31F0 | 1-6-78 | คะตะกะนะ คุ ตัวเล็ก |
㋗ | U+32D7 | 1-12-66 | คะตะกะนะ คุ ในวงกลม |
ク | U+FF78 | ไม่มี | คะตะกะนะ คุ ครึ่งความกว้าง |
ลำดับขีด
[แก้]ฮิระงะนะ く มีลำดับขีด 1 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นเฉียงลงทางซ้ายจากบน เมื่อถึงตำแหน่งกึ่งกลางก็หักเฉียงลงทางขวา คล้ายเครื่องหมายน้อยกว่า (<)
คะตะกะนะ ク มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นโค้งลงทางซ้าย จากด้านบนถึงกึ่งกลาง
- ขีดเส้นนอนจากซ้ายไปขวา โดยเริ่มที่กึ่งกลางของเส้นแรก แล้วหักลงโค้งไปทางซ้าย
คันจิ
[แก้]ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าคุ และขึ้นต้นด้วยคุ มีดังนี้
- 九 倶 句 区 狗 玖 矩 苦 躯 駆 駈 駒 具 愚 虞 喰 空 偶 寓 遇
- 隅 串 櫛 釧 屑 屈 掘 窟 沓 靴 轡 窪 熊 隈 粂 栗 繰 桑 鍬 勲
- 君 薫 訓 群 軍 郡
อ้างอิง
[แก้]- ↑ JIS拡張漢字(JIS X 0213:2004)(全コード表) (ญี่ปุ่น)