หว่าน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅ᩵ᩣ᩠ᨶ (หว่าน), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᩅ᩵ᩣ᩠ᨶ (หว่าน), ภาษาไทลื้อ ᦛᦱᧃᧈ (หฺว่าน), ภาษาลาว ຫວ່ານ (หว่าน), ภาษาไทดำ ꪪ꪿ꪱꪙ (หฺว่าน), ภาษาไทขาว ꪪꪱꪙꫀ, ภาษาไทใหญ่ ဝၢၼ်ႇ (ว่าน), ภาษาจ้วง vanq
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺว่าน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wàan |
ราชบัณฑิตยสภา | wan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /waːn˨˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]หว่าน (คำอาการนาม การหว่าน)
- (สกรรม) โปรย
- หว่านทาน
- (สกรรม) สาดให้กระจาย
- หว่านข้าวเปลือก
- (สกรรม) โดยปริยายหมายความว่า แจกจ่ายไปทั่ว ๆ
- หว่านเงิน
ภาษาแสก
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /vaːn²/, [vaːn˩]
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หวาน, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ภาษาลาว ຫວານ (หวาน), ภาษาไทลื้อ ᦛᦱᧃ (หฺวาน), ภาษาไทใหญ่ ဝၢၼ် (วาน), ภาษาไทใต้คง ᥝᥣᥢᥴ (ว๋าน), ภาษาพ่าเก ဝꩫ် (วน์), ภาษาอาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), ภาษาจ้วง van
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]หว่าน
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]หว่าน
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาแสกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาแสกที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาแสก
- คำคุณศัพท์ภาษาแสก
- คำกริยาภาษาแสก
- คำสกรรมกริยาภาษาแสก