ตามัว
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Amblyopia)
ตามัว | |
---|---|
ชื่ออื่น | ตาขี้เกียจ[1] |
เด็กที่แปะกาวปิดตาเพื่อรักษาตาขี้เกียจ | |
การออกเสียง |
|
สาขาวิชา | จักษุวิทยา |
อาการ | การมองเห็นลดลง |
การตั้งต้น | ก่อนอายุ 5 ขวบ[2] |
สาเหตุ | การจัดตำแหน่งตาไม่ดี, ตามีรูปทรงผิดปกติทำให้การโฟกัสทำได้ยาก, ตาข้างหนึ่งมองเห็นใกล้หรือไกลเกิน, เลนส์ตามัว[1] |
วิธีวินิจฉัย | การทดสอบการมองเห็น[1] |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | ความผิดปกติของก้านสมอง, ความผิดปกติของเส้นประสาทตา, โรคของตา[3] |
การรักษา | แว่นตา, ผ้าปิดตา[1][2][4] |
ความชุก | ผู้ใหญ่ประมาณร้อยละ 2[5] |
ตามัว[6] (อังกฤษ: Amblyopia) หรือที่นิยมเรียกว่า ตาขี้เกียจ (อังกฤษ: Lazy eye) เป็นความผิดปกติทางสายตาที่มีสายตาแย่ลงในดวงตาที่มีโครงสร้างปกติ หรือสายตาแย่ลงอย่างไม่เป็นสัดส่วนกับความผิดปกติทางโครงสร้างของตา ประมาณกันว่ามีผู้ป่วยตาขี้เกียจอยู่ประมาณร้อยละ 1 ถึง 5 ของประชากร[5]
สาเหตุของตาขี้เกียจเกิดจากการขาดหรือบกพร่องในการกระตุ้นด้วยภาพไปสู่ระบบประสาทการมองเห็นในสมองเป็นระยะเวลาหนึ่งในช่วงวัยเด็ก โดยทั่วไปมักเป็นในตาเพียงข้างเดียว แต่อาจเป็นในตาทั้งสองข้างก็ได้ การตรวจพบตาขี้เกียจในช่วงเริ่มแรกจะทำให้มีโอกาสรักษาได้ผลดี
ตาขี้เกียจกับตาเขมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก แต่ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 "Facts About Amblyopia". National Eye Institute. กันยายน 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 กรกฎาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2016.
- ↑ 2.0 2.1 Jefferis JM, Connor AJ, Clarke MP (November 2015). "Amblyopia". BMJ. 351: h5811. doi:10.1136/bmj.h5811. PMID 26563241. S2CID 220101666.
- ↑ Ferri FF (2010). Ferri's differential diagnosis: a practical guide to the differential diagnosis of symptoms, signs, and clinical disorders (2nd ed.). Philadelphia, PA: Elsevier/Mosby. p. Chapter A. ISBN 978-0-323-07699-9.
- ↑ Maconachie GD, Gottlob I (December 2015). "The challenges of amblyopia treatment". Biomedical Journal. 38 (6): 510–6. doi:10.1016/j.bj.2015.06.001. PMC 6138377. PMID 27013450.
- ↑ 5.0 5.1 Webber AL; Wood J (November 2005). "Amblyopia: prevalence, natural history, functional effects and treatment". Clinical & Experimental Optometry. 88 (6): 365–75. doi:10.1111/j.1444-0938.2005.tb05102.x. PMID 16329744.
- ↑ "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]". Longdo Dict. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help)
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Birch EE (March 2013). "Amblyopia and binocular vision". Progress in Retinal and Eye Research (review). 33: 67–84. doi:10.1016/j.preteyeres.2012.11.001. PMC 3577063. PMID 23201436.
- Daw, Nigel W. (2014). Visual Development (Third ed.). Springer. ISBN 978-1461490586.
- Chapter What is Amblyopia? pp. 123–145, doi:10.1007/978-1-4614-9059-3_8,
- Chapter Treatment of Amblyopia pp. 167–180, doi:10.1007/978-1-4614-9059-3_10.
- Stewart CE, Moseley MJ, Fielder AR (September 2011). "Amblyopia therapy: an update". Strabismus. 19 (3): 91–8. doi:10.3109/09273972.2011.600421. PMID 21870912. S2CID 38988992.
- Sengpiel F (September 2014). "Plasticity of the visual cortex and treatment of amblyopia". Current Biology (review). 24 (18): R936–R940. doi:10.1016/j.cub.2014.05.063. PMID 25247373.
- Hamm LM, Black J, Dai S, Thompson B (2014). "Global processing in amblyopia: a review". Frontiers in Psychology (review). 5: 583. doi:10.3389/fpsyg.2014.00583. PMC 4060804. PMID 24987383.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ตามัว