ปวยเล้ง
หน้าตา
ปวยเล้ง | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | พืช Plantae |
เคลด: | พืชมีท่อลำเลียง Tracheophytes |
เคลด: | พืชดอก Angiosperms |
เคลด: | พืชใบเลี้ยงคู่แท้ Eudicots |
อันดับ: | คาร์เนชัน Caryophyllales |
วงศ์: | วงศ์บานไม่รู้โรย Amaranthaceae |
สกุล: | Spinacia Spinacia L. |
สปีชีส์: | Spinacia oleracea |
ชื่อทวินาม | |
Spinacia oleracea L. |
ปวยเล้ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Spinacia oleracea) เป็นพืชในวงศ์บานไม่รู้โรย มีถิ่นกำเนิดในเอเชียกลาง[1] ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกฤดูเดียว สูงได้ถึง 30 เซนติเมตร ใบออกเรียงสลับ รูปรีถึงใบหอก กว้าง 1-15 เซนติเมตร ยาว 2-30 เซนติเมตร ดอกสีเหลืองเขียว เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มิลลิเมตร ผลขนาด 5-10 มิลลิเมตร ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก[2]
อนึ่ง ปวยเล้ง (spinach) เป็นผักที่ป๊อปอายใช้กินเพิ่มพลัง ไม่ใช่ผักโขม (amaranth) อย่างที่เข้าใจกัน[3][4]
คุณค่าทางอาหาร
[แก้]คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 97 กิโลจูล (23 กิโลแคลอรี) |
3.6 g | |
น้ำตาล | 0.4 g |
ใยอาหาร | 2.2 g |
0.4 g | |
2.9 g | |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | (59%) 469 μg(52%) 5626 μg12198 μg |
วิตามินเอ | 9377 IU |
ไทอามีน (บี1) | (7%) 0.078 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (16%) 0.189 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (5%) 0.724 มก. |
วิตามินบี6 | (15%) 0.195 มก. |
โฟเลต (บี9) | (49%) 194 μg |
วิตามินซี | (34%) 28 มก. |
วิตามินอี | (13%) 2 มก. |
วิตามินเค | (460%) 483 μg |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (10%) 99 มก. |
เหล็ก | (21%) 2.71 มก. |
แมกนีเซียม | (22%) 79 มก. |
แมงกานีส | (43%) 0.897 มก. |
ฟอสฟอรัส | (7%) 49 มก. |
โพแทสเซียม | (12%) 558 มก. |
โซเดียม | (5%) 79 มก. |
สังกะสี | (6%) 0.53 มก. |
องค์ประกอบอื่น | |
น้ำ | 91.4 g |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
ปวยเล้งสดประกอบด้วยน้ำ 91%, คาร์โบไฮเดรต 4%, โปรตีน 3% และไขมันเล็กน้อย ปวยเล้ง 100 กรัมให้พลังงาน 23 แคลอรี อุดมไปด้วยวิตามินเอ, วิตามินซี, วิตามินเค, แมงกานีส, เหล็ก และแคลเซียม[5] อย่างไรก็ตาม ควรปรุงปวยเล้งให้สุกเนื่องจากในปวยเล้งมีสารออกซาเลต ซึ่งก่อให้เกิดนิ่วและเพิ่มระดับกรดยูริกในผู้ป่วยโรคเกาต์[6][7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Spinacia oleracea L. - Plants of the World Online". Kew Science. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
- ↑ "ปวยเหล็ง". องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูง. January 13, 2016. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
- ↑ ""ปวยเล้ง" ผักเพิ่มพลังของป๊อบอาย". Manager Online. October 14, 2008. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
- ↑ ""ปวยเล้ง" ผักดีมีประโยชน์ แต่มีอันตรายแอบแฝง". Sanook. January 18, 2018. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
- ↑ "Spinach, raw: nutritional value and analysis". Nutritional Value. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
- ↑ "5 steps for preventing kidney stones - Harvard Health Blog". Harvard University. October 4, 2013. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
- ↑ "Gout diet: What's allowed, what's not". Mayo Clinic. May 18, 2018. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.