ทริปซิน
Trypsin | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
Identifiers | |||||||
EC number | 3.4.21.4 | ||||||
CAS number | 9002-07-7 | ||||||
IntEnz | IntEnz view | ||||||
BRENDA | BRENDA entry | ||||||
ExPASy | NiceZyme view | ||||||
KEGG | KEGG entry | ||||||
MetaCyc | metabolic pathway | ||||||
PRIAM | profile | ||||||
PDB | structures | ||||||
Gene Ontology | AmiGO / EGO | ||||||
|
ทริปซิน (อังกฤษ: trypsin)[1] คือ เอนไซม์ย่อยโปรตีนให้เป็นกรดอะมิโน ถูกผลิตมาจากตับอ่อน ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนและพอลิเพปไทด์ที่มาจากกระเพาะอาหารให้มีโมเลกุลเล็กลงจนเป็นไดเพปไทด์หรือกรดอะมิโนในที่สุด ทริปซินจะแยกสายเพปไทด์ส่วนใหญ่ที่ด้านหมู่คาร์บอกซิล[2]ของกรดอะมิโนไลซีนหรืออาร์จินีน นอกจากว่าเมื่ออย่างใดอย่างหนึ่งติดกับโพรลีน ทริปซินเป็นที่ใช้กันอางมากมายในกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะกระบวนการ โพรทีโอไลซิส (proteolysis) หรือ ทริปซิไนเซชัน (trypsinisation)
ฟังก์ชัน
[แก้]trypsyn ผลิตในตับอ่อนในรูปแบบของ trypsinogen zymogen ที่ยังไม่พร้อมใช้งานเมื่อตับอ่อนถูกกระตุ้นโดย cholecystokinin.และเมื่อตับอ่อนถูกกระตุ้นโดย cholecystokinin มันจะถูกหลังไปยังส่วนต้นของลำไส้เล็กผ่านทางท่อตับอ่อนเมื่ออยู่ในลำไส้เล็กเอนไซม์ enteropeptidase กระตุ้น ทริปซินโดย proteolytic cleavage ทริปซินจะเปลี่ยนไปอยู่ในสภาวะกระตุ้น รวมเป็น trypsinogen ดังนั้นจึงต้องการ เอนไซม์ enteropeptidase เพียงเล็กน้อยเท่านั้นในการเริ่มปฏิกิริยา
กลไก
[แก้]กลไกต่างๆของทริปซินเหมือนกับ serine proteases[3] อื่นๆ เอนไซมน์นี้ประกอบไปด้วย catalytic triad ซึ่งประกอบไปด้วย aspartate-102, histidine-57 และ serine-195
คุณสมบัติ
[แก้]Trypsins มีค่า pH ที่เหมาะสมคือประมาณ 7.5-8.5 และอุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 37°C. Trypsins ควรเก็บไว้ที่อุณหภูมิต่ำมากๆ (ระหว่าง −20°C and −80°C) เพื่อขวางการ และควรเก็บทริปซินที่ pH 3
ประโยชน์
[แก้]การแยกออก และ การเข้าต่อกับโซ่เปปไทด์ เช่นไคโมทริปซิน (chymotrypsin)ไคโมทริปซิน จึงจะทำหน้าที่ย่อยโปรตีนได้ .
ทริปซินอินฮิบิเตอร์
[แก้]ทริปซินอินฮิบิเตอร์เป็นสารยับยั้งการเจริญเติบโตของสัตว์ มีอยู่ในเมล็ดถั่วเหลืองดิบ จะยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ทริปซินในการย่อยโปรตีน ทำให้การย่อยได้ของโปรตีนลดลง สัตว์จะเกิดอาการท้องอืด วิธีแก้ไขคือ ต้องอบหรือนึ่งถั่วเหลืองให้สุกที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที ก็จะทำลายพิษทริปซินอินฮิบิเตอร์ได้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ (EC 3.4.21.4)
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-09. สืบค้นเมื่อ 2012-09-16.
- ↑ http://www.springerlink.com/content/l3t068x156682u55/?MUD=MP[ลิงก์เสีย]