ข้ามไปเนื้อหา

หน้าหลัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความแนะนำ
แผนที่แสดง การแบ่งเขตการปกครองของเบลเยียม
แผนที่แสดง การแบ่งเขตการปกครองของเบลเยียม

เบลเยียมเป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดกับเนเธอร์แลนด์ทางทิศเหนือ ติดเยอรมนีทางทิศตะวันออก ติดลักเซมเบิร์กทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดฝรั่งเศสทางทิศใต้ และติดทะเลเหนือทางทิศตะวันตก ด้วยขนาดพื้นที่ 30,689 ตารางกิโลเมตร และประชากรราว 11.7 ล้านคน จึงเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดอันดับที่ 22 ของโลก และอันดับที่ 6 ของทวีป เมืองหลวงและเขตมหานครที่ใหญ่ที่สุดคือนครบรัสเซลส์ เมืองสำคัญอื่นได้แก่ แอนต์เวิร์ป, เกนต์, ชาร์เลอรัว, ลีแยฌ, บรูช, นามูร์ และเลอเฟิน

เบลเยียมมีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภา แบ่งออกเป็นสามแคว้น ได้แก่ แคว้นเฟลมิชทางตอนเหนือซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ แคว้นวอลลูนทางตอนใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส และแคว้นนครหลวงบรัสเซลส์ซึ่งเป็นแคว้นที่เล็กที่สุด มีประชากรหนาแน่นที่สุด และมั่งคั่งที่สุดในแง่อัตราจีดีพีเฉลี่ย เบลเยียมเป็นที่ตั้งของประชาคมภาษาหลักสองประชาคม ได้แก่ ประชาคมเฟลมิชซึ่งมีประชากรร้อยละ 60 และประชาคมฝรั่งเศสซึ่งมีประชากรร้อยละ 40 นอกจากนี้ยังมีประชาคมภาษาเยอรมันอยู่ในภาคตะวันออก ส่วนแคว้นนครหลวงบรัสเซลส์ใช้ทั้งภาษาฝรั่งเศสและภาษาดัตช์
รู้ไหมว่า...
เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดและเพิ่งปรับปรุงของวิกิพีเดีย :
ศาสนิกชนกำลังประกอบพิธีบูชาในเทศกาลฉฐบูชาในประเทศเนปาล
ศาสนิกชนกำลังประกอบพิธีบูชาในเทศกาลฉฐบูชาในประเทศเนปาล
เรื่องจากข่าว
วันนี้ในอดีต

26 เมษายน:

ดูเพิ่ม: 25 เมษายน26 เมษายน27 เมษายน

สารานุกรม

ป้ายบอกทาง

  • ศาลาประชาคม – กระดานข่าว โครงการ ทรัพยากรและกิจกรรมซึ่งครอบคลุมวิกิพีเดียอย่างกว้างขวาง
  • แผนกช่วยเหลือ – ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดีย
  • ปุจฉา-วิสัชนา – ถามข้อสงสัยทั่วไปที่คุณอยากรู้
  • ข่าวไซต์ – ประกาศ อัปเดต บทความและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย
  • สภากาแฟ – สำหรับอภิปรายเกี่ยวกับวิกิพีเดีย รวมถึงรายงานปัญหาเทคนิคและเสนอนโยบาย
  • Local Embassy – For Wikipedia-related discussion in languages other than Thai.
  • สร้างบทความใหม่ – บทช่วยสอนสำหรับเตรียมพร้อมสร้างบทความแรกของคุณ

ภาษาอื่น

นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีกทั้งหมด 324 ภาษา โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่แสดงรายการด้านล่างนี้